ให้คำปรึกษางานสอบเทียบ

บริการให้คำปรึกษางานสอบเทียบเครื่องมือวัด

 

ให้คำปรึกษา และแนะนำงานสอบเทียบเครื่องมือวัด

ให้คำปรึกษา และแนะนำงานสอบเทียบเครื่องมือวัด ทั้งก่อนให้บริการ หรือขณะที่ทำการสอบเทียบเครื่องมือวัด และหลังการขาย โดยทีมงานวิศกรที่มีประสบการณ์ ผ่านการอบรมตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการสอบเทียบบ ISO/IEC 17025:2017

การวางแผนงานสอบเทียบเครื่องมือวัด

การสอบเทียบเครื่องมือวัด จะมีการกำหนดรอบการสอบเทียบเป็นประจำ เช่น ทุกๆ 1 เดือน ทุกๆ 1 ปี เป็นต้น ดังนั้นเครื่องมือวัดแต่ละตัวอาจจะมีรอบการสอบเทียบแตกต่างกัน ยิ่งถ้าในโรงงานมีเครื่องมือวัดหลายตัว หลายชนิด รอบการสอบเทียบอาจจะมีรอบการสอบเทียบที่หลากหลาย การวางแผนให้ชัดเจน

Read More
การตั้งเกณฑ์การยอมรับ และความถีในการสอบเทียบ

การควบคุมเครื่องมือวัด เป็นเรื่องหนึ่งที่มักเป็นปัญหาพบเจอบ่อยๆของเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับเครื่องมือวัด คือ เรื่องการตั้งค่าเกณฑ์การยอมรับของเครื่องมือวัด ว่าจะนำเกณฑ์อะไรเพื่อมาตั้งเป็น ค่าเกณฑ์การยอมรับ ในการประเมินการใช้งานเครื่องมือวัดนั้นๆ  การตั้งเกณฑ์ของเครื่องมือวัด ควรตั้งก่อนที่จัดซื้อเครื่องมือใหม่มาใช้งาน หรือ เครื่องมือที่มีอยู่แล้วจะนำมาใช้งาน หรือก่อนที่จะส่งเครื่องมือสอบเทียบ หรือทำการทวนสอบ ตรวจสอบเครื่องมือ ก่อนนำไปใช้งานนั้นๆ 

Read More
การอ่านค่าใบรับรองการสอบเทียบ และการนำผลการสอบเทียบไปใช้งาน

หลังจากการสอบเทียบเครื่องมือวัดเรียบร้อยแล้วท่านจะได้ใบรับรองการสอบเทียบ (Certificate of Calibration) เพื่อเป็นการรับรองเครื่องมือวัดตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ว่าเครื่องมือวัดยังสามารถใช้งานได้ตามมาตรฐานหรือไม่ ซึ่งต่อไปนี้ทาง STC จะแนะนำวิธีอ่านค่าใบ Calibration Certificate 

Read More
ความสำคัญของการสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม

โรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วยเครื่องมือวัดในส่วนต่างๆ มากมาย เพื่อยืนยันความเครื่องมือวัดที่วัดอยู่นั้นสามารถวัดได้อย่างถูกต้อง จำเป็นที่จะต้องมีการสอบเทียบ (Calibration) โดยหลักการง่ายๆ คือการนำเครื่องมือวัดที่เราใช้งาน ไปวัดค่าเปรียบเทียบกับตัวเครื่องมือวัดที่มีความเที่ยงตรงและแม่นยำที่สูงกว่า เพื่อได้จะทราบว่า เครื่องมือวัดของเรานั้น ยังคงมีความเที่ยงตรงและแม่นยำ อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ หรือไม่

Read More


10 ตุลาคม 2567

ผู้ชม 69 ครั้ง